มาตรฐาน ITA

Lorem Ipsum คืออะไร?

Lorem Ipsum คือ เนื้อหาจำลองแบบเรียบๆ ที่ใช้กันในธุรกิจงานพิมพ์หรืองานเรียงพิมพ์ มันได้กลายมาเป็นเนื้อหาจำลองมาตรฐานของธุรกิจดังกล่าวมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เมื่อเครื่องพิมพ์โนเนมเครื่องหนึ่งนำรางตัวพิมพ์มาสลับสับตำแหน่งตัวอักษรเพื่อทำหนังสือตัวอย่าง Lorem Ipsum อยู่ยงคงกระพันมาไม่ใช่แค่เพียงห้าศตวรรษ แต่อยู่มาจนถึงยุคที่พลิกโฉมเข้าสู่งานเรียงพิมพ์ด้วยวิธีทางอิเล็กทรอนิกส์ และยังคงสภาพเดิมไว้อย่างไม่มีการเปลี่ยนแปลง มันได้รับความนิยมมากขึ้นในยุค ค.ศ. 1960 เมื่อแผ่น Letraset วางจำหน่ายโดยมีข้อความบนนั้นเป็น Lorem Ipsum และล่าสุดกว่านั้น คือเมื่อซอฟท์แวร์การทำสื่อสิ่งพิมพ์ (Desktop Publishing) อย่าง Aldus PageMaker ได้รวมเอา Lorem Ipsum เวอร์ชั่นต่างๆ เข้าไว้ในซอฟท์แวร์ด้วย

ทำไมจึงต้องนำมาใช้?

มีหลักฐานที่เป็นข้อเท็จจริงยืนยันมานานแล้ว ว่าเนื้อหาที่อ่านรู้เรื่องนั้นจะไปกวนสมาธิของคนอ่านให้เขวไปจากส่วนที้เป็น Layout เรานำ Lorem Ipsum มาใช้เพราะความที่มันมีการกระจายของตัวอักษรธรรมดาๆ แบบพอประมาณ ซึ่งเอามาใช้แทนการเขียนว่า ‘ตรงนี้เป็นเนื้อหา, ตรงนี้เป็นเนื้อหา’ ได้ และยังทำให้มองดูเหมือนกับภาษาอังกฤษที่อ่านได้ปกติ ปัจจุบันมีแพ็กเกจของซอฟท์แวร์การทำสื่อสิ่งพิมพ์ และซอฟท์แวร์การสร้างเว็บเพจ (Web Page Editor) หลายตัวที่ใช้ Lorem Ipsum เป็นแบบจำลองเนื้อหาที่เป็นค่าตั้งต้น และเวลาที่เสิร์ชด้วยคำว่า ‘lorem ipsum’ ผลการเสิร์ชที่ได้ก็จะไม่พบบรรดาเว็บไซต์ที่ยังคงอยู่ในช่วงเริ่มสร้างด้วย โดยหลายปีที่ผ่านมาก็มีการคิดค้นเวอร์ชั่นต่างๆ ของ Lorem Ipsum ขึ้นมาใช้ บ้างก็เป็นความบังเอิญ บ้างก็เป็นความตั้งใจ (เช่น การแอบแทรกมุกตลก)

มันมีที่มาอย่างไร?

ตรงกันข้ามกับความเชื่อที่นิยมกัน Lorem Ipsum ไม่ได้เป็นเพียงแค่ชุดตัวอักษรที่สุ่มขึ้นมามั่วๆ แต่หากมีที่มาจากวรรณกรรมละตินคลาสสิกชิ้นหนึ่งในยุค 45 ปีก่อนคริสตศักราช ทำให้มันมีอายุถึงกว่า 2000 ปีเลยทีเดียว ริชาร์ด แมคคลินท็อค ศาสตราจารย์ชาวละติน จากวิทยาลัยแฮมพ์เด็น-ซิดนีย์ ในรัฐเวอร์จิเนียร์ นำคำภาษาละตินคำว่า consectetur ซึ่งหาคำแปลไม่ได้จาก Lorem Ipsum ตอนหนึ่งมาค้นเพิ่มเติม โดยตรวจเทียบกับแหล่งอ้างอิงต่างๆ ในวรรณกรรมคลาสสิก และค้นพบแหล่งข้อมูลที่ไร้ข้อกังขาว่า Lorem Ipsum นั้นมาจากตอนที่ 1.10.32 และ 1.10.33 ของเรื่อง “de Finibus Bonorum et Malorum” (The Extremes of Good and Evil) ของ ซิเซโร ที่แต่งไว้เมื่อ 45 ปีก่อนคริสตศักราช หนังสือเล่มนี้เป็นเรื่องราวที่ว่าด้วยทฤษฎีแห่งจริยศาสตร์ ซึ่งเป็นที่นิยมมากในยุคเรเนสซองส์ บรรทัดแรกของ Lorem Ipsum “Lorem ipsum dolor sit amet..” ก็มาจากบรรทัดหนึ่งในตอนที่ 1.10.32 นั่นเอง

ด้านล่างของหน้านี้คือท่อนมาตรฐานของ Lorem Ipsum ที่ใช้กันมาตั้งแต่คริสตศตวรรษที่ 16ที่ได้รับการสร้างขึ้นใหม่สำหรับผู้ที่สนใจ ประกอบไปด้วย ตอนที่ 1.10.32 และ 1.10.33 จากเรื่อง “de Finibus Bonorum et Malorum” โดยซิเซโร ก็ได้รับการผลิตขึ้นใหม่ด้วยเช่นกันในรูปแบบที่ตรงกับต้นฉบับ ตามมาด้วยเวอร์ชั่นภาษาอังกฤษจากการแปลของ เอช แร็คแคม เมื่อปี ค.ศ. 1914

จะนำมาใช้ได้จากที่ไหน?

มีท่อนต่างๆ ของ Lorem Ipsum ให้หยิบมาใช้งานได้มากมาย แต่ส่วนใหญ่แล้วจะถูกนำไปปรับให้เป็นรูปแบบอื่นๆ อาจจะด้วยการสอดแทรกมุกตลก หรือด้วยคำที่มั่วขึ้นมาซึ่งถึงอย่างไรก็ไม่มีทางเป็นเรื่องจริงได้เลยแม้แต่น้อย ถ้าคุณกำลังคิดจะใช้ Lorem Ipsum สักท่อนหนึ่ง คุณจำเป็นจะต้องตรวจให้แน่ใจว่าไม่มีอะไรน่าอับอายซ่อนอยู่ภายในท่อนนั้นๆ ตัวสร้าง Lorem Ipsum บนอินเทอร์เน็ตทุกตัวมักจะเอาท่อนที่แน่ใจแล้วมาใช้ซ้ำๆ ทำให้กลายเป็นที่มาของตัวสร้างที่แท้จริงบนอินเทอร์เน็ต ในการสร้าง Lorem Ipsum ที่ดูเข้าท่า ต้องใช้คำจากพจนานุกรมภาษาละตินถึงกว่า 200 คำ ผสมกับรูปแบบโครงสร้างประโยคอีกจำนวนหนึ่ง เพราะฉะนั้น Lorem Ipsum ที่ถูกสร้างขึ้นใหม่นี้ก็จะไม่ซ้ำไปซ้ำมา ไม่มีมุกตลกซุกแฝงไว้ภายใน หรือไม่มีคำใดๆ ที่ไม่บ่งบอกความหมาย

คุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน ของสถานีตำรวจภูธรนาโยง
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567


สถานีตำรวจภูธรนาโยง ได้เข้าร่วมการประเมินเพื่อวัดระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน ตามโครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA) ซึ่งดำเนินการโดยสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (สำนักงาน ป.ป.ช.) โดยมีกรอบการประเมินตามตัวชี้วัดต่างๆ ดังนี้
แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก
แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก External Integrity and Transparency Assessment (EIT) สำหรับบุคคล นิติบุคคล บริษัทเอกชนหรือหน่วยงานรัฐ ที่เคยมารับบริการหรือมาติดต่อกับ สภ.นาโยง
แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน
แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน Internal Integrity and Transparency Assessment (IIT) สำหรับบุคลากรภายใน ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ในสังกัด สภ.เมืองปัตตานี เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี

ตัวชี้วัดที่ 9 การเปิดเผยข้อมูล
ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.1 : ข้อมูลพื้นฐาน

▪️ ข้อมูลพื้นฐาน
ข้อมูลที่เผยแพร่
O1
โครงสร้าง อัตรากำลัง และข้อมูลผู้บริหาร
 โครงสร้าง
 ข้อมูลผู้บริหาร
O2
อำนาจหน้าที่และพื้นที่ที่รับผิดชอบ นโยบายผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ และยุทธศาสตร์สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 20 ปี
 อำนาจหน้าที่หรือภารกิจของสถาอำนาจหน้าที่นีตำรวจ
 บทบาทภารกิจความรับผิดชอบของแต่ละงานภายในสถานีตำรวจ
 นโยบายผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
 ยุทธศาสตร์สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580)
O3
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 กฎหมาย กฎ และระเบียบที่เกี่ยวข้อง
O4
คณะกรรมการตรวจสอบและติดตาม การบริหารงานตำรวจ (กต.ตร.) ของสถานีตำรวจ
 คณะกรรมการ กต.ตร.สภ.นาโยง
 กรรมการโดยตำแหน่ง
 กรรมการที่มาจากการเลือก
 กรรมการที่มาจากการคัดเลือก
 บทบาทและอำนาจหน้าที่ของ กต.ตร.สภ.นาโยง
 ผลการดำเนินงานของ กต.ตร.สภ.นาโยง


▪️ การประชาสัมพันธ์และการปฏิสัมพันธ์ข้อมูล
ข้อ
ข้อมูล
ข้อมูลที่เผยแพร่
O5
ข้อมูลการติดต่อ Q&A และช่องทางการรับฟังความคิดเห็น
 ข้อมูลการติดต่อสถานีตำรวจ
 Q&A : ติดต่อสอบถาม
 ช่องทางการรับฟังความคิดเห็น
O6
การประชาสัมพันธ์ข้อมูลผลการดำเนินงาน
การประชาสัมพันธ์ข้อมูลผลการดำเนินงานผ่านสื่อต่างๆ ของสถานีตำรวจ ดังนี้
 Website
 Facebook
 LINE Official Account
 YouTube Channel
 TikTok
 Instagram
 Twitter

การประชาสัมพันธ์การขับเคลื่อนการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA)
 การประชาสัมพันธ์บนเว็บไซต์
 ดาวน์โหลดข่าวประชาสัมพันธ์

การประชาสัมพันธ์แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (External Integrity and Transparency Assessment: EIT)
 การประชาสัมพันธ์บนเว็บไซต์
 ดาวน์โหลดไฟล์โปสเตอร์ประชาสัมพันธ์



ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.2 : การบริหารงาน

▪️ แผนการดำเนินงาน
ข้อ
ข้อมูล
ข้อมูลที่เผยแพร่
O7
แผนปฏิบัติราชการตำรวจประจำปี และรายงานผล การปฏิบัติราชการ สถานีตำรวจประจำปี


▪️ การปฏิบัติงาน
ข้อ
ข้อมูล
ข้อมูลที่เผยแพร่
O8
คู่มือการปฏิบัติงานสำหรับเจ้าหน้าที่
 คู่มือการปฏิบัติงานอำนวยการ, งานป้องกันปราบปราม, งานจราจร, งานสอบสวน และงานสอบสวน

▪️ การให้บริการ
ข้อ
ข้อมูล
ข้อมูลที่เผยแพร่
O9
คู่มือการให้บริการประชาชน
 คู่มือประชาชน
O10
E–Service
 ระบบบริการออนไลน์ต่างๆ ของสถานีตำรวจ
O11
ข้อมูลผลการดำเนินงานในเชิงสถิติ
 ข้อมูลผลการดำเนินงานของสถานีตำรวจ ตามภารกิจหลักในเชิงสถิติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

▪️ การใช้อำนาจและตำแหน่งหน้าที่
ข้อ
ข้อมูล
ข้อมูลที่เผยแพร่
O12
แนวปฏิบัติในการจับหรือค้น

O13
มาตรการป้องกันการแทรกแซงการใช้ดุลยพินิจ

O14
แนวปฏิบัติในการใช้ดุลยพินิจไม่รับคำร้องทุกข์ในคดีอาญา

O15
แนวปฏิบัติในการสอบปากคำ ของพนักงานสอบสวน

O16
สิทธิของผู้เสียหายหรือเหยื่ออาชญากรรม และสิทธิผู้ต้องหา
กฎหมายและแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง
 คู่มือกรมคุ้มครองสิทธิ์ การช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู้เสียหายและจำเลยในคดีอาญา
 คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงานกองทุนยุติธรรม
 สิทธิของผู้ต้องหา
 พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา พ.ศ. 2544


ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.3 : การบริหารเงินงบประมาณ

▪️ แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
ข้อ
ข้อมูล
ข้อมูลที่เผยแพร่
O17
แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปีและรายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
 แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
 สรุปภาพรวมผลการใช้งบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

O18
ข้อมูลเงินกองทุนเพื่อการสืบสวนและสอบสวนคดีอาญา
 ข้อมูลเงินกองทุนเพื่อการสืบสวนสอบสวนคดีอาญา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

▪️ การจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ
ข้อ
ข้อมูล
ข้อมูลที่เผยแพร่
O19
ประกาศต่างๆ เกี่ยวกับ การจัดซื้อจัดจ้าง
 ประกาศสถานีตำรวจภูธรนาโยงเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างประจำเดือนโดยวิธีเฉพาะเจาะจง และคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจรับพัสดุประจำเดือน

O20
สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างรายเดือน
 สรุปผลการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างรายเดือน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (แบบ สขร.1)



ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.4 : การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล

▪️ การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
ข้อ
ข้อมูล
ข้อมูลที่เผยแพร่
O21
หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนากำลังพล
 หลักเกณฑ์การแต่งตั้ง, หลักเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงาน, หลักเกณฑ์การโยกย้ายกำลังพล, หลักเกณฑ์ในการเลื่อนเงินเดือน, หลักเกณฑ์ในการให้คุณให้โทษ และหลักเกณฑ์พัฒนากำลังพล



ตัวชี้วัดย่อยที่ 9.5 : การส่งเสริมความโปร่งใส

▪️ การส่งเสริมความโปร่งใส
ข้อ
ข้อมูล
ข้อมูลที่เผยแพร่
O22
ช่องทางการแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริต และข้อมูลเชิงสถิติ เรื่องร้องเรียนการทุจริตประจำปี
 ช่องทางการแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริต
 ข้อมูลสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่ของสถานีตำรวจ, แนวทางการปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต



ตัวชี้วัดที่ 10 การป้องกันการทุจริต (Anti – Corruption Practice)
ตัวชี้วัดย่อยที่ 10.1 : การดำเนินการเพื่อป้องกันการทุจริต

▪️ เจตจำนงสุจริตของผู้บริหาร
ข้อ
ข้อมูล
ข้อมูลที่เผยแพร่
O23
ประกาศนโยบายต่อต้านการรับสินบน (Anti-Bribery Policy) และนโยบายไม่รับของขวัญ และของกำนัลทุกชนิด (No Gift Policy) จากการปฏิบัติหน้าที่
 ประกาศ สถานีตำรวจภูธรนาโยง เรื่อง นโยบายต่อต้านการรับสินบน (Anti-Bribery Policy) และการไม่รับของขวัญของกำนัลหรือประโยชน์อื่นใด (No Gift Policy) จากการปฏิบัติหน้าที่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566
O24
การมีส่วนร่วมของหัวหน้าสถานีตำรวจ
 กิจกรรมการมีส่วนร่วมของหัวหน้าสถานีตำรวจในการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม การต่อต้านการทุจริต/สินบนในหน่วยงาน

▪️ การป้องกันและการลดโอกาสการทุจริต
ข้อ
ข้อมูล
ข้อมูลที่เผยแพร่
O25
การประเมินความเสี่ยงการทุจริต และการรายงานผลการดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริต
 การประเมินความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบ และแผนบริหารจัดการความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประจำปีงบประมาณ 2566
O26
แผนพัฒนาประสิทธิภาพการให้บริการ และการรายงานผลการดำเนินการ ตามแผนพัฒนาประสิทธิภาพการให้บริการ

O27
คู่มือหรือแนวทางการปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรม
 ประมวลจริยธรรมข้าราชการตำรวจ พ.ศ. 2564
 แนวทางการปฏิบัติตนของข้าราชการตำรวจ ตามประมวลจริยธรรมข้าราชการตำรวจ
 คู่มือ คำอธิบายแนวทางการปฏิบัติ ตามกฎ ก.ตร.ว่าด้วยประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณของตำรวจ พ.ศ. 2551
 Infographic 7 ข้อ ที่ข้าราชการตำรวจพึงปฏิบัติตน “เพื่อรักษาจริยธรรม”

O28
แผนปฏิบัติการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบประจำปี และผลการดำเนินการตามแผนฯ
 แผนปฏิบัติการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบประจำปี พ.ศ. 2566


▪️ ระบบการรักษาทรัพย์สินของราชการ
ข้อ
ข้อมูล
ข้อมูลที่เผยแพร่
O29
การจัดการทรัพย์สินของ ราชการ ของบริจาค และการจัดเก็บของกลาง และสำนวนการสอบสวนคดีอาญาและคดีจราจร
 ประกาศสถานีตำรวจภูธรนาโยง เรื่อง การจัดการทรัพย์สินของราชการและของบริจาค



ตัวชี้วัดย่อยที่ 10.2 : มาตรการภายในเพื่อป้องกันการทุจริต

▪️ มาตรการภายในเพื่อส่งเสริมความโปร่งใสและป้องกันการทุจริต
ข้อ
ข้อมูล
ข้อมูลที่เผยแพร่
O30
มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน และการรายงานผลการดำเนินการตามมาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน
 ข่าวการประชาสัมพันธ์การขับเคลื่อนการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA)